
ปัจจุบันการนำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักร หรือการส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ได้มีกฎหมายควบคุมการ
นำเข้าและส่งออก ซึ่งทางผู้ประกอบการที่มีการนำเข้าสินค้าหรือส่งออกสินค้า ต้องพึงระวังสำหรับการนำเข้าสินค้า
และส่งออกสินค้า เพราะถ้าเกิดความผิดพลาดจะส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการโดยตรง คืออาจโดนยึดสินค้าและอาจ
มีค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นค่าปรับเกิดขึ้น รวมถึงอาจโดนดำเนินคดีตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องอีกด้วยและเป็นความผิดตามมาตรา
244 และมาตรา 246 แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2560 สินค้าที่มีกฎหมายควบคุมมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ

"ในบทความที่แล้วเราได้อธิบายข้อมูลเบื้องตันเกี่ยวกับ "กระดาษฉากไปแล้ว" สำหรับครั้งนี้ เราจะมาอธิบาย
การใช้งานและข้อควรระวังกันค่ะ"

การตรวจสอบเอกสารด้านพิธีการศุลกากร ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของชุดใบขน เช่น ใบขน
สินค้าขาเข้า INV, B/L, PACKING ใบอนุญาตต่างๆ ส่วนจุดที่ต้องตรวจสอบในใบขนสินค้าขาเข้า ได้แก่

กล่าวได้ว่าโค้งแรกของการเข้าสู่เศรษฐกิจดิจิทัลของศตวรรษที่ 21 เป็นการเข้าสู่การปฏิวัติทางการ
อุตสาหกรรมยุคที่ 4 (4R : 4" Industrial Revolution) เป็นยุคที่ชีวิตประจำวันของผู้คนตลอดจนรุรกรรม
ทางธุรกิจอยู่ภายใต้กระแสเทคโนโลยีก้าวหน้าในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะการสื่อสารผ่านมัลติแชนแนล
ออนไลน์ ทำให้การรับรู้และเข้าถึงข้อมูลได้ภายในพริบตา ในภาคการผลิตและบริการเทคโนโลยีดิจิทัลชั้นสูง
เข้ามามีบทบาท เช่น เอไอ หุ่นยนต์อัจฉริยะ ฟินเทค ไอโอที ลีนออโตเมชั่น นาโนและไบโอเทคโนโลยี ฯลฯ
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่กระบวนการผลิต ธุรกรรมทางการค้า โลจิสติกส์ เทคโนโลยีใหม่ทำให้

โดยตัวแทนบริษัทเรือทำหน้าที่ในการบรรจุ ณ ลานบรรจุสินค้า CFS ของแต่ละ
ตัวแทนบริษัทเรือมีวิธีการในการทำงาน ดังนี้

พิธีการศุลกากรมีหลากหลายแยกย่อยตามพันธะกิจของงานศุลกากร บางส่วนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับธุรกิจและประเภทของงานการนำเข้า-ส่งออก ที่จะช่วยลดภาระค่าใช้จ่าย ค่าภาษีอากรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า-ส่งออก

เมื่อวันที่ 24 - 26 กันยายน 2562 ที่ผ่านมา โดยคุณสาธิต ม่วงงาม ตำแหน่งผู้จัดการทั่วไปสาขาเมียนมาและ โลจิสติกส์ข้ามแดนร่วมกับ คุณโยชินาริ ผู้บริหารฝ่ายการตลาด บริษัท ทากาเซะ (จแปน) พันธมิตรร่วมธุรกิจสัญชาติ ญี่ปุ่น ได้เดินไปยังนิคมอุตสาหกรรมติลาวา ประเทศเมียนมา เพื่อโปรโมทการให้บริการงานขนส่งสินค้าข้ามแดนจาก ประเทศเพื่อนบ้านมายังประเทศเมียนมา

Internet of Things (oT) พัฒนามาจากเทคโนโลยีการระบุตัวตนด้วยคลื่นวิทยุ หรือ Radio-frequency
Identification (RFID) และปัจจุบันได้พัฒนาให้สามารถเชื่อมต่อผ่านเครือข่าย Internet ไม่ว่าจะเป็น 3G, 4G และ
5G ที่กำลังจะนำมาใช้งานในบ้านเราเร็วๆนี้ โดยพัฒนาเป็นเทคโนโลยีที่เชื่อมต่อระหว่างวัตถุสิ่งของหรือโครงสร้าง
ทางกายภาพ เข้ากับโครงสร้างด้านดิจิทัล หรือระบบอินเทอร์เน็ตผ่านเซ็นเชอร์ เพื่อให้เกิดการสื่อสารแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างผู้ใช้งานและวัตถุในเครือข่าย กล่าวคือ ผู้ใช้งานสามารถสั่งการควบคุมการใช้งานวัตถุสิ่งของในเครือข่าย
ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การเปิด-ปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าผ่าน Smart Phone
ในปัจจุบัน วัตถุสิ่งของที่สามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้นั้น ไม่ได้จำกัดเฉพาะ Smart Phone

บุคลากรในงานให้บริการขนส่งสินค้า ภายใต้การแข่งขันทุกรูปแบบในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันผู้ให้บริการต่าง ๆ จำเป็นต้องป้องกันงานบริการของตนเองให้มีความปลอดภัยและมีมาตรฐานสูงสุดภายใต้ความเสี่ยงต่างๆ ทั้งด้านการปฏิบัติงาน การสั่งงาน ระบบการทำงานจึงถือเป็นเรื่องสำคัญมากรวมไปถึงการควบคุมและวัดผลการ ทำงานซึ่งเป็นการสร้างความนเชื่อถือให้กับลูกค้า

การเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินด (ต่อ) ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินคเชิงปริมาณ เป็นการวิเคราะห์ต้นทุนเปรียบเทียบระหว่างทำเล-ที่ตั้งแต่ละแห่ง เพื่อได้ทำเลที่ตั้งที่มีตันทุนที่ต่ำที่สุดมาเป็นส่วนประกอบ เพื่อเกิดประโยชน์และคุ้มค่าต่อการดำเนินการธุรกิจ โดยจะทำการวิเคราะห์ต้นทุนที่เกิดจากสิ่งต่าง ๆ