
เมื่อวันที่ 24 - 26 กันยายน 2562 ที่ผ่านมา โดยคุณสาธิต ม่วงงาม ตำแหน่งผู้จัดการทั่วไปสาขาเมียนมาและ โลจิสติกส์ข้ามแดนร่วมกับ คุณโยชินาริ ผู้บริหารฝ่ายการตลาด บริษัท ทากาเซะ (จแปน) พันธมิตรร่วมธุรกิจสัญชาติ ญี่ปุ่น ได้เดินไปยังนิคมอุตสาหกรรมติลาวา ประเทศเมียนมา เพื่อโปรโมทการให้บริการงานขนส่งสินค้าข้ามแดนจาก ประเทศเพื่อนบ้านมายังประเทศเมียนมา

Internet of Things (oT) พัฒนามาจากเทคโนโลยีการระบุตัวตนด้วยคลื่นวิทยุ หรือ Radio-frequency
Identification (RFID) และปัจจุบันได้พัฒนาให้สามารถเชื่อมต่อผ่านเครือข่าย Internet ไม่ว่าจะเป็น 3G, 4G และ
5G ที่กำลังจะนำมาใช้งานในบ้านเราเร็วๆนี้ โดยพัฒนาเป็นเทคโนโลยีที่เชื่อมต่อระหว่างวัตถุสิ่งของหรือโครงสร้าง
ทางกายภาพ เข้ากับโครงสร้างด้านดิจิทัล หรือระบบอินเทอร์เน็ตผ่านเซ็นเชอร์ เพื่อให้เกิดการสื่อสารแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างผู้ใช้งานและวัตถุในเครือข่าย กล่าวคือ ผู้ใช้งานสามารถสั่งการควบคุมการใช้งานวัตถุสิ่งของในเครือข่าย
ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การเปิด-ปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าผ่าน Smart Phone
ในปัจจุบัน วัตถุสิ่งของที่สามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้นั้น ไม่ได้จำกัดเฉพาะ Smart Phone

บุคลากรในงานให้บริการขนส่งสินค้า ภายใต้การแข่งขันทุกรูปแบบในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันผู้ให้บริการต่าง ๆ จำเป็นต้องป้องกันงานบริการของตนเองให้มีความปลอดภัยและมีมาตรฐานสูงสุดภายใต้ความเสี่ยงต่างๆ ทั้งด้านการปฏิบัติงาน การสั่งงาน ระบบการทำงานจึงถือเป็นเรื่องสำคัญมากรวมไปถึงการควบคุมและวัดผลการ ทำงานซึ่งเป็นการสร้างความนเชื่อถือให้กับลูกค้า

การเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินด (ต่อ) ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินคเชิงปริมาณ เป็นการวิเคราะห์ต้นทุนเปรียบเทียบระหว่างทำเล-ที่ตั้งแต่ละแห่ง เพื่อได้ทำเลที่ตั้งที่มีตันทุนที่ต่ำที่สุดมาเป็นส่วนประกอบ เพื่อเกิดประโยชน์และคุ้มค่าต่อการดำเนินการธุรกิจ โดยจะทำการวิเคราะห์ต้นทุนที่เกิดจากสิ่งต่าง ๆ

จากบทความครั้งที่แล้วว่าด้วยเรื่องเงื่อนไขการนําเข้ามะพร้าวจาก 4 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐแห่งสหภาพ
เมียนมาร์, มาเลเซีย, สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม, สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ประกาศของกระทรวงพาณิชย์
กําหนดให้มะพร้าวเป็นสินค้าที่ต้องปฏิบัติตามมาตรการจัดระเบียบในการนําเข้ามาในราชอาณาจักร

กรมการค้าต่างประเทศ ได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงการใช้ FORM E ใหม่
ตามที่กรมการค้าต่างประเทศ ได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงการใช้ FORM E ใหม่ โดยเริ่มใช้เมื่อวันที่ 1 กันยายน
2562 นั้น ซึ่งมีข้อแตกต่างจาก FORM E แบบเดิม โดยมีหัวข้อที่เปลี่ยนแปลง ดังรายการดังนี้

หลายท่านที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับ "โลจิสติกส์" คงเคยประสบปัญหาบรรจุภัณฑ์ได้รับความเสียหายระหว่าง เคลื่อนย้ายสินด้ อาทิ กล่องบรรจุภัณฑ์โดยกดทับ มุมกล่องนบเบี้ยว เป็นต้น ในบทความนี้เราจะมาแนะนำอุปกรณ์ที่ สามารถช่วยลดปัญหาดังกล่าวค่ะ

มาตรฐานในการตรวจปล่อยสินคเครื่องจักรมูลค่สูง มีดังนี้
1) การตรวจสอบเอกสารให้ถูกต้องก่อนทำงาน เช่น อัตราพิกัดศุลกากร, จำนวนหีบห่อ, ชื่อสินค้า, ปริมาณใบตราส่ง
2) ตรวจสอบการใช้สิทธิประโยชน์หรือฟอร์มต่าง ๆ ให้ถูกต้อง เช่น ฟอร์ม E, ฟอร์ม D, ใบอนุญาต และอื่น ๆ
3)สำรวจสภาพสินค้าให้ละเอียด เช่น การวัดขนาดความกว้าง X ยาว X สง เพื่อจัดเตรียมรถให้พร้อม

ในปัจจุบันการขนส่งสินค้าส่วนใหญ่จะใช้การขนส่งทางทะเล ด้วยเรือประเภท Container Ship จึงควรเข้าใจ ถึงลักษณะและประเภทของ Container ซึ่งจะเป็นลักษณะตู้ทําด้วยเหล็ก หรืออลูมิเนียม มีขนาดมาตรฐาน 20 ฟุต และ 40 ฟุต การขนส่งด้วยระบบตู้คอนเทนเนอร์ การขนส่งทางทะเล จัดเป็นการขนส่งที่มีความสําคัญที่สุดและใช้มากที่สุด เมื่อเทียบกับรูปแบบการขนส่งอื่น ๆ เนื่องจากมีต้นทุนการขนส่งที่ต่ําและสามารถขนส่งสินค้าได้คราวละมาก ๆ โดยรูปแบบ การขนส่งทางทะเลในปัจจุบัน ส่วนใหญ่เป็นการขนส่งด้วยระบบตู้อนเทนเนอร์ (Container Box)

กรมการค้าต่างประเทศ เตรียมพร้อมใช้กฎถิ่นกำเนิดสินค้าฉบับใหม่ ภายใต้ความตกลง FTA อาเซียน-จีนในส่วน ของกฎถิ่นกำเนิดสินค้า (Rule of Origin : ROO) กฎถิ่นกำเนิดเฉพาะรายสินค้า (PSRs) หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (Form E) และระเบียบปฏิบัติฉบับปรับปรุง ที่จะเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 ส.ค. 62 นี้ คาดช่วยเอื้อประโยชน์ให้ ผู้ประกอบการผลิตสินค้าได้ถิ่นกำเนิดง่ายขึ้นและใช้สิทธิพิเศษได้สะดวกขึ้น